“WASTE RUNNER 100 DAYS CHALLENGE ร้อยวัน รันวงการขยะ” โครงการคิดนอกกรอบจัดการขยะเต็มรูปแบบ ” ค้นหานักจัดการขยะพันธุ์ใหม่” ทั้งคนทั่วไป สตาร์ทอัพ หรือผู้เชี่ยวชาญ สมัครแข่งขันสร้างโมเดลการจัดการขยะที่สดใหม่ สร้างการมีส่วนร่วมกับคนในชุมชน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน ในคุ้งบางกระเจ้า ผ่านขั้นตอนการแข่งขัน 100 วัน เป็นความร่วมมือที่เกิดขึ้นระหว่าง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GC และ บริษัท แทคท์ โซเซียล คอนซัลติ้ง หรือ Tact บริษัทคนรุ่นใหม่ ร่วมทำโครงการดังกล่าว เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการจัดการขยะพลาสติกอย่างเป็นระบบ นาย สุพัฒนพงศ์ พันธ์มีเชาว์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ จีซี ได้ให้ความเห็นการจัดการแข่งขันครั้งนี้ ว่า การบริหารจัดการขยะพลาสติกต้องมีการนำเทคโนโลยี และต้องอาศัยคนรุ่นใหม่ ที่มีมุมมองใหม่ มาใช้จัดการปัญหาขยะที่เกิดขึ้น จากขยะพลาสติกที่ตกค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อม เพื่อคิดค้นหาบิสสิเนสโมเดลดีๆ ที่สามารถหาระบบการจัดเก็บขยะเชื่อมโยงตั้งแต่ต้นทางไปจนถึงเข้าสู่โรงรีไซเคิลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้เห็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ และอาจจะสร้างให้เกิดอาชีพใหม่อีกมาก “จากปัญหาก็จะกลายเป็นโอกาสทันที”
ผลสำรวจดังกล่าวยังเผยอีกว่า องค์กรธุรกิจไทยคาดว่า AI จะเพิ่มอัตราการสร้างนวัตกรรมขึ้นอีก 66% และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานได้ราว 32% ภายในปี 2564 ขณะที่จะศักยภาพการแข่งขันจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 81%
นายธนวัฒน์ สุธรรมพันธุ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า “ทุกวันนี้ ทุกบริษัทก็เป็นเหมือนบริษัทซอฟต์แวร์ และการทำงานในทุกส่วนก็เป็นดิจิทัลมากขึ้น การจะประสบความสำเร็จในโลกยุคใหม่นี้ องค์กรต่างๆ จำเป็นต้องนำเอาเทคโนโลยีที่ดีที่สุดมาประยุกต์ใช้ให้ได้โดยเร็ว และสร้างความสามารถเชิงดิจิทัลที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตัวเองได้ ซึ่งในยุคของเรา AI จะเป็นเทคโนโลยีที่กำหนดทิศทางแห่งอนาคต ด้วยศักยภาพมหาศาลทั้งในการขับเคลื่อนการปฏิรูปธุรกิจ สร้างนวัตกรรม เสริมประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน และต่อยอดการเติบโตของธุรกิจ ด้วยเหตุนี้เอง ประเทศและธุรกิจที่ยังไม่ได้เริ่มต้นใช้งาน AI จึงกำลังเผชิญกับความเสี่ยงที่จะเสียความได้เปรียบในการแข่งขัน และตกเป็นรองธุรกิจที่เป็นผู้นำในด้านนี้”

ทั้งนี้ CEO GC ได้ยกตัวอย่างของโอกาสการทำธุรกิจที่เกิดจากความคิดนอกกรอบของเด็กรุ่นใหม่ในต่างประเทศ ว่า ...... “ได้พบเด็กคนหนึ่งเรียนอยู่ปี สามคณะวิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยซานดิเอโก สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นเขาทำธุรกิจ “ อูเบอร์รีไซเคิล ” ก็คือเขาไปจัดระเบียบซาเล้ง ในซานดิเอโก โดยพัฒนาแอพพลิเคชั่น ที่สามารถเชื่อมโยงสมาชิก ครัวเรือน สามารถส่งข้อมูลไปยังระบบส่วนกลางว่า วันนี้มีปริมาณการจัดเก็บพลาสติกใช้แล้วเท่าไหร่ กระดาษใช้แล้วเท่าไหร่ เหล็กใช้แล้วเท่าไหร่ สิ่งที่เหลือใช้เท่าไหร่ ที่เขาสามารถคิดนอกกรอบได้เพราะเขาทำงานที่นำประสบการณ์ของการทำงานกับ“ อูเบอร์” มาต่อยอดกับแนวทางการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ “
นี่เป็นตัวอย่างว่าถ้าเราช่วยกันมีโมเดลธุรกิจที่ดีเชื่อมโยงขยะถึงโรงงาน ระหว่างทางยังสร้างอาชีพได้อีกมาก ปัญหาจะเปลี่ยนเป็นโอกาสทันที ผลที่ได้จากโครงการ Waste Runner นี้ จะนำไปสู่ความสำเร็จ แม้อาจเป็นเพียงบางส่วน แต่ขอให้เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่จะได้รวบรวมทุกภาคส่วนที่สนใจและพร้อมจะช่วยกันเปลี่ยนแปลงโจทย์ยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดการขยะได้จริง”ซีอีโอ GC กล่าวในท้ายที่สุด “
แต่ในขณะที่ปัญหาของขยะในประเทศไทย โดยเฉพาะขยะในทะเล ที่ประเทศไทยติดอันดับต้นๆของโลก ซึ่งเป็นอันดับที่ไม่น่าพึ่งปรารถนา นายสุพัฒนพงศ์ ยังกล่าวอีกว่า GC ได้ดำเนินการเรื่องการนำขยะพลาสกติกมารีไซเคิล มานานแล้ว ภายใต้โครงการต่างเป็นจำนวนมาก
“GC ทำสิ่งที่ยากที่สุด นั่นคือ เราเก็บขยะปลายทางที่ถือว่าสกปรกที่สุด ขยะที่อยู่ในทะเลและริมทะเลเพื่อพิสูจน์ว่าถ้าเราไม่ปล่อยขยะทิ้งไว้ให้เป็นขยะ หรือมองขยะเป็นผู้ร้าย แต่นำกลับมาผลิตแยกขยะเข้าสู่กระบวนการผลิต ก็จะได้เสื้ออย่างที่ผมใส่อยู่ ไปจนถึงผลิตผ้าจีวรได้ที่แรกในโลก นี่คือตัวอย่างให้เห็นว่าทุกภาคส่วนต่างช่วยกันได้” สุพัฒนพงษ์กล่าว
คุณวานิช สาวาโย ผู้อำนวยการส่วนลดและใช้ประโยชน์ของเสีย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ กล่าวว่า สถานการณ์ขยะในประเทศไทยต่อสถานการณ์โลกว่า ไทยเป็นประเทศท็อปเท็น อันดับที่ 6 ของโลก จากการสำรวจประเทศที่ก่อให้เกิดขยะพลาสติกในทะเลทั่วโลก ขณะที่กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และใช้พลาสติกเป็นจำนวนมากเช่นกัน แต่ไม่อยู่ในอันดับท็อปเท็นเหมือนไทย เพราะประเทศเขามีการจัดการขยะถึงปลายทางอย่างถูกต้อง แต่ในขณะที่ประเทศไทย มีขยะปริมาณมากถูกจัดการอย่างไม่ถูกต้อง โดยข้อมูลปี 2561 มีปริมาณขยะราว 27.8 ล้านตันต่อวัน ในจำนวนนี้ 34 % นำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ ส่วน 39 % นำไปกำจัดได้อย่างถูกต้อง
พลาสติก ถือเป็นวัสดุที่สร้างคุณประโยชน์ในทุกมิติของการดำเนินชีวิตและในอนาคตจะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น แต่ปัญหาขยะพลาสติกดูแล้วจะไม่ใช่ปัญหา เพียงแค่เริ่มต้นจากมือเรา ทิ้งขยะให้ถูกที่ เท่านี้ขยะพลาสติกก็จะมีเส้นทางที่สดใส เริ่มต้นชีวิตใหม่เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับเราอีกครั้ง
แต่ในขณะที่ปัญหาของขยะในประเทศไทย โดยเฉพาะขยะในทะเล ที่ประเทศไทยติดอันดับต้นๆของโลก ซึ่งเป็นอันดับที่ไม่น่าพึ่งปรารถนา นายสุพัฒนพงศ์ ยังกล่าวอีกว่า GC ได้ดำเนินการเรื่องการนำขยะพลาสกติกมารีไซเคิล มานานแล้ว ภายใต้โครงการต่างเป็นจำนวนมาก
“GC ทำสิ่งที่ยากที่สุด นั่นคือ เราเก็บขยะปลายทางที่ถือว่าสกปรกที่สุด ขยะที่อยู่ในทะเลและริมทะเลเพื่อพิสูจน์ว่าถ้าเราไม่ปล่อยขยะทิ้งไว้ให้เป็นขยะ หรือมองขยะเป็นผู้ร้าย แต่นำกลับมาผลิตแยกขยะเข้าสู่กระบวนการผลิต ก็จะได้เสื้ออย่างที่ผมใส่อยู่ ไปจนถึงผลิตผ้าจีวรได้ที่แรกในโลก นี่คือตัวอย่างให้เห็นว่าทุกภาคส่วนต่างช่วยกันได้” สุพัฒนพงษ์กล่าว
คุณวานิช สาวาโย ผู้อำนวยการส่วนลดและใช้ประโยชน์ของเสีย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ กล่าวว่า สถานการณ์ขยะในประเทศไทยต่อสถานการณ์โลกว่า ไทยเป็นประเทศท็อปเท็น อันดับที่ 6 ของโลก จากการสำรวจประเทศที่ก่อให้เกิดขยะพลาสติกในทะเลทั่วโลก ขณะที่กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และใช้พลาสติกเป็นจำนวนมากเช่นกัน แต่ไม่อยู่ในอันดับท็อปเท็นเหมือนไทย เพราะประเทศเขามีการจัดการขยะถึงปลายทางอย่างถูกต้อง แต่ในขณะที่ประเทศไทย มีขยะปริมาณมากถูกจัดการอย่างไม่ถูกต้อง โดยข้อมูลปี 2561 มีปริมาณขยะราว 27.8 ล้านตันต่อวัน ในจำนวนนี้ 34 % นำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ ส่วน 39 % นำไปกำจัดได้อย่างถูกต้อง
พลาสติก ถือเป็นวัสดุที่สร้างคุณประโยชน์ในทุกมิติของการดำเนินชีวิตและในอนาคตจะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น แต่ปัญหาขยะพลาสติกดูแล้วจะไม่ใช่ปัญหา เพียงแค่เริ่มต้นจากมือเรา ทิ้งขยะให้ถูกที่ เท่านี้ขยะพลาสติกก็จะมีเส้นทางที่สดใส เริ่มต้นชีวิตใหม่เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับเราอีกครั้ง
“To call asteroids the ‘rock stars’ of astronomy is simultaneously a bad joke but an accurate depiction of how astronomy fans view them.”